ชื่อผลงาน : รายงานการนิเทศ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ของครู กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย
ประจำปีงบประมาณ 2556
ชื่อผู้ศึกษา : นางพรมาดา วงศ์หวัน
ปีการศึกษา 2556
หน่วยงาน : สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดเชียงราย
การนิเทศกระบวนการจัดการเรียนรู้
ของครู กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย ประจำปีงบประมาณ 2556 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ของครู กศน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อพัฒนาครู กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อนิเทศ และศึกษาผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู กศน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เป็นครู กศน. ในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย ในปีงบประมาณ 2556 ที่มีประสบการณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้อยกว่า 2 ปี จำนวน 66 คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นการเลือกแบบเจาะจง เป็นครู กศน. ที่เข้ารับการพัฒนา และผ่านการประเมินหลังการพัฒนา แต่ไม่ถึงร้อยละ 75 โดยใช้สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ สถิติพื้นฐาน ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ ประกอบด้วยค่าความตรงเชิงเนื้อหา ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่น เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อน - หลัง การพัฒนา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเครื่องมือนิเทศกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลการศึกษา สรุปได้ ดังนี้
ตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย ประจำปีงบประมาณ 2556 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ของครู กศน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อพัฒนาครู กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อนิเทศ และศึกษาผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู กศน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เป็นครู กศน. ในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย ในปีงบประมาณ 2556 ที่มีประสบการณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้อยกว่า 2 ปี จำนวน 66 คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นการเลือกแบบเจาะจง เป็นครู กศน. ที่เข้ารับการพัฒนา และผ่านการประเมินหลังการพัฒนา แต่ไม่ถึงร้อยละ 75 โดยใช้สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ สถิติพื้นฐาน ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ ประกอบด้วยค่าความตรงเชิงเนื้อหา ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่น เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อน - หลัง การพัฒนา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเครื่องมือนิเทศกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลการศึกษา สรุปได้ ดังนี้
1. การศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ของครู
กศน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 การศึกษาข้อเท็จจริงจากการที่ครูผ่านการสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งครู
กศน. แต่ยังไม่ได้รับการอบรมก่อนได้รับการแต่งตั้งไปปฏิบัติงาน
ในพื้นที่ และส่วนใหญ่ไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษา ส่วนประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ของครู กศน.
ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครู กศน. 66 คน
มีประสบการณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้อยกว่า 2 ปี ส่วนรายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
ในมาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้ประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยตันสังกัด และในมาตรฐานการศึกษาภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมินสอดคล้องกันคือ ส่วนใหญ่มีระดับคุณภาพ ระดับดี และรองลงมาคือ ระดับพอใช้ ดังปรากฏในรายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด (รายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด, 2555 : บทสรุปสำหรับผู้บริหาร) และรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา รอบสาม (รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาจากภายนอกรอบสาม, 2556 : บทสรุปสำหรับผู้บริหาร) ซึ่งผู้ประเมินให้ข้อเสนอแนะไว้ในทิศทางเดียวกัน ดังนี้ ในด้านคุณภาพของผู้เรียน ซึ่งยังมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหลัก คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ส่วนใหญ่ยังค่อนข้างต่ำ ปัจจัยอย่างหนึ่ง ที่สำคัญคือ ผู้สอน ดังนั้นควรส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดทำแผนการเรียนรู้ การจัดทำวิจัยชั้นเรียน และวิจัยอย่างง่าย เพื่อเพิ่มทักษะในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนและเกิดนวัตกรรมใหม่ของสถานศึกษาการพัฒนาครูและบุคลากร ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้บุคลากรเกิดความรู้ ความเข้าใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดหาวิทยากรมืออาชีพมาให้การอบรมครู จะทำให้เกิดการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว สถานศึกษา ควรนำผลการวิเคราะห์ บริบทชุมชน ศักยภาพของครูความต้องการของผู้เรียน เพื่อนำมาจัดแผนการเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงถึงการออกแบบการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพของผู้เรียน นอกจากนี้ ในกระบวนการสรรหาครู กศน.ทุกประเภทไม่ได้จำกัดในด้านคุณวุฒิ จึงมีบุคลากรที่จบการศึกษาหลากหลายสาขา ส่วนใหญ่ไม่ได้มีคุณวุฒิทางการศึกษา ไม่เคยมีประสบการณ์ในด้านการสอน หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อปฏิบัติงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน อาจส่งผลให้การจัดการศึกษายังไม่บรรลุวัตถุประสงค์เท่าที่ควร โดยอาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่บุคลากรครูผู้สอนยังไม่มีความรู้ความเข้าใจและยังไม่มีทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนต่ำ ดังนั้นควรส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยการจัดทำแผนการเรียนรู้ การจัดทำวิจัยชั้นเรียน และวิจัยอย่างง่าย เพื่อเพิ่มทักษะในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนและเกิดนวัตกรรมใหม่ของสถานศึกษาการพัฒนาครูและบุคลากร ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้บุคลากรเกิดความรู้ ความเข้าใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดหาวิทยากรมืออาชีพมาให้การอบรมครู จะทำให้เกิดการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
ในพื้นที่ และส่วนใหญ่ไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษา ส่วนประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ของครู กศน.
ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครู กศน. 66 คน
มีประสบการณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้อยกว่า 2 ปี ส่วนรายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
ในมาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้ประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยตันสังกัด และในมาตรฐานการศึกษาภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมินสอดคล้องกันคือ ส่วนใหญ่มีระดับคุณภาพ ระดับดี และรองลงมาคือ ระดับพอใช้ ดังปรากฏในรายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด (รายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด, 2555 : บทสรุปสำหรับผู้บริหาร) และรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา รอบสาม (รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาจากภายนอกรอบสาม, 2556 : บทสรุปสำหรับผู้บริหาร) ซึ่งผู้ประเมินให้ข้อเสนอแนะไว้ในทิศทางเดียวกัน ดังนี้ ในด้านคุณภาพของผู้เรียน ซึ่งยังมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหลัก คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ส่วนใหญ่ยังค่อนข้างต่ำ ปัจจัยอย่างหนึ่ง ที่สำคัญคือ ผู้สอน ดังนั้นควรส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดทำแผนการเรียนรู้ การจัดทำวิจัยชั้นเรียน และวิจัยอย่างง่าย เพื่อเพิ่มทักษะในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนและเกิดนวัตกรรมใหม่ของสถานศึกษาการพัฒนาครูและบุคลากร ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้บุคลากรเกิดความรู้ ความเข้าใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดหาวิทยากรมืออาชีพมาให้การอบรมครู จะทำให้เกิดการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว สถานศึกษา ควรนำผลการวิเคราะห์ บริบทชุมชน ศักยภาพของครูความต้องการของผู้เรียน เพื่อนำมาจัดแผนการเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงถึงการออกแบบการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพของผู้เรียน นอกจากนี้ ในกระบวนการสรรหาครู กศน.ทุกประเภทไม่ได้จำกัดในด้านคุณวุฒิ จึงมีบุคลากรที่จบการศึกษาหลากหลายสาขา ส่วนใหญ่ไม่ได้มีคุณวุฒิทางการศึกษา ไม่เคยมีประสบการณ์ในด้านการสอน หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อปฏิบัติงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน อาจส่งผลให้การจัดการศึกษายังไม่บรรลุวัตถุประสงค์เท่าที่ควร โดยอาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่บุคลากรครูผู้สอนยังไม่มีความรู้ความเข้าใจและยังไม่มีทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนต่ำ ดังนั้นควรส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยการจัดทำแผนการเรียนรู้ การจัดทำวิจัยชั้นเรียน และวิจัยอย่างง่าย เพื่อเพิ่มทักษะในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนและเกิดนวัตกรรมใหม่ของสถานศึกษาการพัฒนาครูและบุคลากร ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้บุคลากรเกิดความรู้ ความเข้าใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดหาวิทยากรมืออาชีพมาให้การอบรมครู จะทำให้เกิดการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
2. การพัฒนาครู กศน.
ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ส่งผลให้มีความรู้ความเข้าใจ
สามารถทำแบบทดสอบหลังการพัฒนาได้ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้ร้อยละ 65 แต่มีจำนวน 22
คนที่ผ่านการพัฒนา แต่ไม่ถึงร้อยละ 75
3.
การปฏิบัติการนิเทศ
และศึกษาผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู กศน.ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การปฏิบัติการนิเทศ
ส่งผลให้
ครู กศน. สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้ โดยมีความสามารถในการวางแผน
การจัดการเรียนรู้ นำแผนการสอนไปใช้
มีการบันทึกหลังสอน ใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย
เหมาะสมกับเนื้อหาในการเรียนรู้ มีการวัดผลประเมินผลได้อย่างเหมาะสมตามสภาพจริง
และมีความหลากหลาย เป็นที่น่าพึงพอใจ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การนิเทศ
และผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู กศน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ทำให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้ รวมทั้งได้รับการพัฒนาการเรียนรู้จากการวิจัยในชั้นเรียน
ได้เรียนรู้บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้ รวมทั้งได้รับการพัฒนาการเรียนรู้จากการวิจัยในชั้นเรียน
ข้อเสนอแนะจากการนิเทศ
1. ข้อเสนอแนะเพื่อการนำไปใช้
1.1 ควรมีการนิเทศเพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
1.2 การนิเทศการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และการศึกษา เพื่อพัฒนาบุคลากรเฉพาะเรื่อง เช่น
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ จะทำให้บุคลากรได้รับการพัฒนาตรงจุด
และสอดคล้องกับข้อเสนอแนะของผู้ประเมินคุณภาพสถานศึกษโดยต้นสังกัด และจากผู้ประเมินคุณภาพจากภายนอก
(สมศ.) ที่เสนอให้มีการพัฒนาครูและบุคลากรในสาระการเรียนรู้ต่างๆ
1.3 ผู้บริหารสถานศึกษาตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา
ควรให้
การสนับสนุนและส่งเสริมการนิเทศพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ครู กศน. มีความสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การสนับสนุนและส่งเสริมการนิเทศพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ครู กศน. มีความสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาต่อไป
2.1
ควรมีการพัฒนาศักยภาพผู้นิเทศภายในของสถานศึกษาในการนิเทศกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ กศน.
เพราะการนิเทศเป็นการช่วยเหลือ แนะนำให้ครู กศน.จัดกระบวนการเรียนรู้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2
สถานศึกษาแต่ละแห่ง
ควรมีการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา
เพื่อนำมาวางแผน พัฒนา ปรับปรุง กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. อย่างต่อเนื่อง
เพื่อนำมาวางแผน พัฒนา ปรับปรุง กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. อย่างต่อเนื่อง
2.3 สถานศึกษาควรให้ครูและบุคลากร จัดทำแผนพัฒนาตนเอง แล้วรวบรวมจัดทำ
เป็นแผนงาน
โครงการ ในการพัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนาบุคลากรได้สอดคล้องกับความต้องการ
และบทบาทของบุคลากรแต่ละคน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น